บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 6 วันพุธที่ 10 กุมภาพันธ์ 2559
บันทึกการเรียนในวันนี้
วันนี้อาจารได้มีการเช็คชื่อเหมือนกับทุกครั้งที่เคยทำเมื่อเริ่มการสอนอาจารย์ก็กระดาษ
A4 ให้คนละ 1 แผ่น
หลังจากนั้นอาจารย์ก็ให้ตีตารางเป็น 2 ตารางโดยมีความยาวเท่ากันคือ
10 เซนติเมตร ตารางที่หนึ่งมีสองแถว ส่วนตารางที่สองมีสามแถว
โดยอาจารย์มีโจทย์ให้ว่าให้แรงเงาช่องให้ติดกันโดยการออกแบบเอง
วาดตารางช่องละ 1 เซนติเมตร จากนั้นให้ระบายที่เป็น 2 แถวให้แรเงา 2 ช่องติดกันโดยที่ออกแบบเองไม่ให้ซ้ำกันให้ได้มากที่สุด
ต่อมาให้แรงเงาที่มีช่อง 3 แถวโดยระบายช่อง 3 ช่องให้ติดกันโดยที่ออกแบบเองไม่ให้ซ้ำกันให้ออกมาได้มากที่สุด
-สรุปวิจัย นางสาวศิริพร ขมิ้นแก้ว ต้องนำเสนอใหม่เนื่องจากเป็นวิจัยที่นานเกินไป
-สรุปวิดีโอโทรทัศน์ครู นางสาวชลนิชา สิงห์คู่ ต้องนำเสนอใหม่เพราะไม่ตรงกับเนื้อหาที่เรียน
สรุปบทความ
นางสาวมาลินี ทวีพงศ์
เรื่อง เลขคณิตคิดสนุก แนะนำพ่อแม่สอนลูกๆจากกิจกรรมในบ้านจากสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดยอาจารย์สุรัชน์ อินทสังข์ จากภาควิชาหลักสูตรและการสอน
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
อ.สุรัชน์ กล่าวว่า เด็กไทยคิดคำนวณเลขเก่ง แต่ถ้ายังขาดการให้เหตุผล ซึ่งเรื่องนี้พ่อแม่ผู้ปกครองมีส่วนสำคัญ ที่จะช่วยให้เด็กฝึกคิดหาเหตุผลได้ โดยการชวนลูกคุย และหมั่นตั้งคำถาม ให้เด็กได้ฝึกคิด ส่วนคำตอบจะผิดหรือถูกยังไม่ใช่เรื่องสำคัญ คณิตศาสตร์ซ่อนอยู่ในหลายๆ ที่ ในชีวิตประจำวันของเรา เช่น หนังสือพิมพ์ ในห้องครัว ในสวน สนามเด็กเล่น เป็นต้น เมื่อผู้ปกครองพบเห็นอะไร ก็สามารถเก็บประเด็นแล้วนำมาพูดคุยกับลูกหลานได้ หรือหากิจกรรมสนุกมาทำร่วมกันในครอบครัวและให้เด็กมีส่วนร่วมด้วย เช่น เล่นเกมทางคณิตศาสตร์ เข้าครัวทำอาหาร เป็นต้น ตัวอย่างกิจกรรม เช่น
ให้พ่อแแม่และเด็กทำเยลลีด้วยกัน เด็กก็จะได้เรียนรู้เรื่องทักษะการชั่ง การตวง การวัด หรือชักชวนลูกไปจ่ายตลาดด้วยกัน เด็กๆ ก็จะได้ฝึกวางแผนว่าจะต้องซื้ออะไรบ้าง ในปริมาณเท่าไหร่ และปริมาณเท่านี้คิดเป็นเงินจำนวนเท่าไหร่ เป็นการให้เด็กได้ฝึกคำนวณเลข เมื่อเด็กเล่นอยู่ในสวนที่มีดอกไม้ ก็อาจเรียนรู้คณิตศาสตร์จากการนับกลีบดอกไม้แต่ละชนิด เช่น ดอกเข็มที่ส่วนใหญ่มี 4 กลีบ แต่จะมีบางดอกที่มี 5 กลีบ หรือ 6 กลีบ ก็หยิบยกเอามาคิดเรื่องสถิติก็ได้ว่าจะมีโอกาสพบดอก 5-6 กลีบ ได้อย่างไรบ้าง อีกกิจกรรมหนึ่งที่น่าสนใจมากคือ การประดิษฐ์กล่องของขวัญ การทำกล่องก็จะต้องมีการวัดสัดส่วน วัดมุม เพื่อให้ได้ขนาดกล่องตามที่ต้องการ นอกจากนี้ อ.สุรัชน์ ยังได้แนะนำเกมสนุกๆ ที่พ่อแม่สามารถนำไปเล่นกับเด็ก เพื่อช่วยฝึกทักษะทางคณิตศาสตร์ของลูกเพิ่มเติมจากที่โรงเรียนได้ไม่ยาก เช่น เกมทายตัวเลข เกมนับตัวเลข เกมโยนเหรียญ เกมทอยลูกเต๋า การเล่นเกมจะทำให้เด็กชอบได้ง่าย เพราะมีการแข่งขันเข้ามาเกี่ยวด้วย การทำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกันที่บ้าน เป็นการเชื่อมความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว ซึ่งกิจกรรมทางคณิตศาสตร์ก็เป็นส่วนหนึ่งที่น่าสนใจ
สรุป
"การส่งเสริมทักษะคณิตศาสตร์ให้เด็กจากที่บ้าน ยังเป็นการสร้างทัศนคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ด้วย ทำให้เห็นว่าเป็นเรื่องทั่วไปที่มีอยู่ในชีวิตประจำวัน และนำมาเล่นสนุกกันได้ ไม่ใช่เรื่องวิชาการเพียงอย่างเดียวเท่านั้น ซึ่งก็จะทำให้เด็กสนใจและรู้สึกอยากเรียนคณิตศาสตร์มากขึ้น"
อ.สุรัชน์ กล่าวว่า เด็กไทยคิดคำนวณเลขเก่ง แต่ถ้ายังขาดการให้เหตุผล ซึ่งเรื่องนี้พ่อแม่ผู้ปกครองมีส่วนสำคัญ ที่จะช่วยให้เด็กฝึกคิดหาเหตุผลได้ โดยการชวนลูกคุย และหมั่นตั้งคำถาม ให้เด็กได้ฝึกคิด ส่วนคำตอบจะผิดหรือถูกยังไม่ใช่เรื่องสำคัญ คณิตศาสตร์ซ่อนอยู่ในหลายๆ ที่ ในชีวิตประจำวันของเรา เช่น หนังสือพิมพ์ ในห้องครัว ในสวน สนามเด็กเล่น เป็นต้น เมื่อผู้ปกครองพบเห็นอะไร ก็สามารถเก็บประเด็นแล้วนำมาพูดคุยกับลูกหลานได้ หรือหากิจกรรมสนุกมาทำร่วมกันในครอบครัวและให้เด็กมีส่วนร่วมด้วย เช่น เล่นเกมทางคณิตศาสตร์ เข้าครัวทำอาหาร เป็นต้น ตัวอย่างกิจกรรม เช่น
ให้พ่อแแม่และเด็กทำเยลลีด้วยกัน เด็กก็จะได้เรียนรู้เรื่องทักษะการชั่ง การตวง การวัด หรือชักชวนลูกไปจ่ายตลาดด้วยกัน เด็กๆ ก็จะได้ฝึกวางแผนว่าจะต้องซื้ออะไรบ้าง ในปริมาณเท่าไหร่ และปริมาณเท่านี้คิดเป็นเงินจำนวนเท่าไหร่ เป็นการให้เด็กได้ฝึกคำนวณเลข เมื่อเด็กเล่นอยู่ในสวนที่มีดอกไม้ ก็อาจเรียนรู้คณิตศาสตร์จากการนับกลีบดอกไม้แต่ละชนิด เช่น ดอกเข็มที่ส่วนใหญ่มี 4 กลีบ แต่จะมีบางดอกที่มี 5 กลีบ หรือ 6 กลีบ ก็หยิบยกเอามาคิดเรื่องสถิติก็ได้ว่าจะมีโอกาสพบดอก 5-6 กลีบ ได้อย่างไรบ้าง อีกกิจกรรมหนึ่งที่น่าสนใจมากคือ การประดิษฐ์กล่องของขวัญ การทำกล่องก็จะต้องมีการวัดสัดส่วน วัดมุม เพื่อให้ได้ขนาดกล่องตามที่ต้องการ นอกจากนี้ อ.สุรัชน์ ยังได้แนะนำเกมสนุกๆ ที่พ่อแม่สามารถนำไปเล่นกับเด็ก เพื่อช่วยฝึกทักษะทางคณิตศาสตร์ของลูกเพิ่มเติมจากที่โรงเรียนได้ไม่ยาก เช่น เกมทายตัวเลข เกมนับตัวเลข เกมโยนเหรียญ เกมทอยลูกเต๋า การเล่นเกมจะทำให้เด็กชอบได้ง่าย เพราะมีการแข่งขันเข้ามาเกี่ยวด้วย การทำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกันที่บ้าน เป็นการเชื่อมความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว ซึ่งกิจกรรมทางคณิตศาสตร์ก็เป็นส่วนหนึ่งที่น่าสนใจ
สรุป
"การส่งเสริมทักษะคณิตศาสตร์ให้เด็กจากที่บ้าน ยังเป็นการสร้างทัศนคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ด้วย ทำให้เห็นว่าเป็นเรื่องทั่วไปที่มีอยู่ในชีวิตประจำวัน และนำมาเล่นสนุกกันได้ ไม่ใช่เรื่องวิชาการเพียงอย่างเดียวเท่านั้น ซึ่งก็จะทำให้เด็กสนใจและรู้สึกอยากเรียนคณิตศาสตร์มากขึ้น"
สรุปโทรทัศน์ครู
นางสาววรัญญา ศรีดาวฤกษ์ เอามานำเสนอเพิ่มเติมเมื่ออาทิตย์ที่แล้ว
วิดีโอ
เรื่อง ลูกเต๋ากับการเรียนรู้
ของครูนิตยา ถาชัย ครูประจำชั้นอนุบาล 2
โรงเรียนบ้านยางขาม
นำความคิดนี้มาจากโทรทัศน์ครูและนำมาประยุกต์ใช้ในการสอน โดยหลักการของครูคือ
การใช้ลูกเต๋าเพื่อเป็นสื่อใสการเรียนรู้ของเด็กและนำมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์
ซึ่งในของจะสาธิตการสอนได้ 2 อย่างคือ 1 เรื่องจำนวนคู่-จำนวนคี่
โดยครูให้เด็กแต่ล่ะคนโยนลูกเต๋าและให้เด็กนับจำนวนบนลูกเต๋าว่ามีจำนวนเท่าใดและนำไปเขียนบนกระดานโดยบนกระดานจะมีตารางซึ่งแบ่งเป็น
2 ฝั่ง คือ
ฝั่งของจำนวนคู่และจำนวนคี่เมื่อเด็กโยนเสร็จแล้วครูก็จะถามเด็กว่านี่คือเลขอะไรและเป็นจำนวนคู่หรือจำนวนคี่
เรื่องที่ 2 คือเรื่องการบวกเลขอย่างง่ายโดยการใช้ลูกเต๋า 2
ลูกพร้อมกันและให้เด็กนับจำนวนว่าแต่ล่ะลูกมีจำนวนเท่าใด
และนำมาบวกกันจากนั้นครูและเด็กก็ร่วมกันแต่งโจทย์ปัญหาอย่างง่ายขึ้นมา เช่น
แม่มีแมวอยู่ 3 ตัว พ่อซื้อมาอีก 4 ตัว
ตอนนี้แม่มีแมวทั้งหมดกี่ตัว
ซึ่งวีดิโอนี้จะสรุปได้ว่า เด็กจะได้รับความรู้จากสื่ออุปกรณ์ที่ครูเตรียมมาให้ได้อย่างเห็นภาพและเข้าใจง่ายมากขึ้นและกิจกรรมในครั้งนี้บังให้ทั้งความรู้ความสนุกสนาน รวมไปถึงสร้างความแข็งแรงในด้านกล้ามเนื้อมัดใหญ่กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กอีกด้วย ถือว่าเป็นกิจกรรมที่ดีและมีประโยชน์มาก
ซึ่งวีดิโอนี้จะสรุปได้ว่า เด็กจะได้รับความรู้จากสื่ออุปกรณ์ที่ครูเตรียมมาให้ได้อย่างเห็นภาพและเข้าใจง่ายมากขึ้นและกิจกรรมในครั้งนี้บังให้ทั้งความรู้ความสนุกสนาน รวมไปถึงสร้างความแข็งแรงในด้านกล้ามเนื้อมัดใหญ่กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กอีกด้วย ถือว่าเป็นกิจกรรมที่ดีและมีประโยชน์มาก
ทักษะที่ได้รับ
-ทักษะการคิดจากโจทย์ปัญหา
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์หรือการคิดแตกแขนง
-ทักษะการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
-ทักษะการนำเสนอ Project ของเด็ก
-ทักษะการนำเสนอ Project ของเด็ก
-ทักษะการกำหนดเป้าหมายในชีวิต
-ทักษะการเรียงลำดับในการสอน
-ทักษะการออกแบบ ตำแหน่ง ทิศทาง
-ทักษะการจัดการสอนให้สอดคล้องกับหลักสูตร
-ทักษะการคิดวิเคราะห์ในการดูวิดีโอ
การนำไปประยุกต์ใช้
-การจัดประสบการณ์ในการเรียนเมื่อมีความรู้แล้วก็สามารถนำไปจัดประสบการณ์ให้กับเด็กจัดได้หลากหลายและให้เหมาะสมกับพัฒนาการและช่วงอายุของเด็กได้
-มองเห็นความสนใจของเด็กเป็นหลักในการจัดประสบการณ์
-คิดแนวในการจัดกิจกรรมที่หลากหลายรูปแบบให้สอดคล้องกับเรื่องที่จะเรียนโดยมีการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้เมื่อเจอปัญหา
เทคนิคในการสอนของอาจารย์
-อาจารย์ให้คิดแก้ปัญหาและออกแบบเองอย่างอิสระลงมือปฏิบัติด้วยตนเองตามความเข้าใจของเราเอง
-อาจารณ์สรุปการเรียนการสอนทุกครั้งที่ให้ทำกิจกรรม คำถาม-ตอบ และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
-อาจารย์ทอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมในการเรียนการสอนเสมอเพื่อให้นักศึกษาตระหนักถึงการเป็นครูที่ดีว่าการเป็นครูที่ดีต้องปลูกฝังสิ่งที่ดีๆให้กับเด็ก มีเมตตาและเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับเด็ก
ประเมินตนเอง
-ทักษะการเรียงลำดับในการสอน
-ทักษะการออกแบบ ตำแหน่ง ทิศทาง
-ทักษะการจัดการสอนให้สอดคล้องกับหลักสูตร
-ทักษะการคิดวิเคราะห์ในการดูวิดีโอ
การนำไปประยุกต์ใช้
-การจัดประสบการณ์ในการเรียนเมื่อมีความรู้แล้วก็สามารถนำไปจัดประสบการณ์ให้กับเด็กจัดได้หลากหลายและให้เหมาะสมกับพัฒนาการและช่วงอายุของเด็กได้
-มองเห็นความสนใจของเด็กเป็นหลักในการจัดประสบการณ์
-คิดแนวในการจัดกิจกรรมที่หลากหลายรูปแบบให้สอดคล้องกับเรื่องที่จะเรียนโดยมีการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้เมื่อเจอปัญหา
เทคนิคในการสอนของอาจารย์
-อาจารย์ให้คิดแก้ปัญหาและออกแบบเองอย่างอิสระลงมือปฏิบัติด้วยตนเองตามความเข้าใจของเราเอง
-อาจารณ์สรุปการเรียนการสอนทุกครั้งที่ให้ทำกิจกรรม คำถาม-ตอบ และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
-อาจารย์ทอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมในการเรียนการสอนเสมอเพื่อให้นักศึกษาตระหนักถึงการเป็นครูที่ดีว่าการเป็นครูที่ดีต้องปลูกฝังสิ่งที่ดีๆให้กับเด็ก มีเมตตาและเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับเด็ก
ประเมินตนเอง
วันนี้ตั้งใจฟังที่อาจารย์สอนและทำกิจกรรมอย่างตั้งใจ
สนใจเนื้อหาเรื่องที่เรียน จดบันทึกความรู้ในระหว่างเรียนได้เข้าใจ
รับฟังความคิดเห็นของอาจารย์ของเพื่อนในการตอบคำถามของอาจารย์
พยายามคิดและหาคำตอบเมื่อมีคำถาม
ประเมินเพื่อน
วันนี้ตั้งใจฟังที่อาจารย์สอนและทำกิจกรรมอย่างตั้งใจ
สนใจเนื้อหาเรื่องที่เรียน จดบันทึกความรู้ในระหว่างเรียน
วันนี้ทำให้บรรยากาศในการสอนของอาจารย์ต้องติดขัดเพื่อนๆพยายามคิดและหาคำตอบเมื่อมีคำถาม
มีการคิดตามเนื้อหาระหว่างที่เรียนและช่วยกันตอบคำถาม
ประเมินอาจารย์
อาจารย์มีการนำกิจกรรมมาให้ปฏิบัติก่อนเริ่มเนื้อหาอาจารย์ได้ให้คำแนะนำตลอดการเรียนการสอน
อธิบายเนื้อหาเรื่องที่เรียนได้ละเอียดและชัดเจน
มีการยกตัวอย่างในเนื้อหาที่เรียนทำให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น
คอยรับฟังคำถามหรือเรื่องที่นักศึกษาสงสัยจากเนื้อหาที่เรียนเมื่อจบการเรียนการสอนของวิชาเสมอ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น